วันอังคารที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2554
วันศุกร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
วันพฤหัสบดีที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2554
The university of Iowa Studies (Kurt Lewin)
1. ผู้นำแบบอัตตาธิปไตย (Autocratic style) เป็นผู้นำแบบเผด็จการรวบอำนาจ ตัดสินใจแต่เพียงผู้เดียวและสั่งการให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม ในองค์การสมัยใหม่ผู้นำประเภทนี้ก็จะจำเป็นต้องนำมาใช้ในบางสถานการณ์
2. ผู้นำแบบประชาธิปไตย (Democratic style) ผู้นำประเภทนี้จะเข้าร่วมกับกลุ่มในการตัดสิ้นใจ และอนุญาตให้กลุ่มเป็นผู้กำหนดวิธีปฏิบัติงาน รวมทั้งจะแจ้งให้กลุ่มทราบถึงข้อมูลข่าวสารที่จำเป็น อาทิ เป้าหมายขององค์การ รวมทั้งใช้ข้อมูลย้อนกลับเป็นโอกาสในการฝึกฝนสมาชิกกลุ่ม
3. ผู้นำแบบเสรีนิยม (Laissez-faire style) ผู้นำแบบเสรีนิยมนี้จะมอบให้ผูใต้บังคับบัญชาตัดสินใจและแก้ปัญหาต่างๆ เอง โดยผู้นำไม่สนใจรับผิดชอบ นอกจากนี้ยังไม่ให้ข้อมูลป้อนกลับแก่ผูใต้บังคับบัญชาว่าทำงานดีหรือไม่ดีอย่างไรด้วย
การเปรียบเทียบพฤติกรรมของผู้นำตามภาวะผู้นำประเภทต่างๆ
นักวิจัยศึกษาพฤติกรรมและผลงานของผู้นำทั้ง 3 แบบ ผู้นำแบบอัตตาธิปไตย และผู้นำแบบประชาธิปไตยสามารถสร้างผลงานให้แก่องค์การได้สูงสุดในระดับเดียวกันในขณะที่ผู้นำแบบเสรีนิยมสร้างผลงานได้ต่ำสุด
ที่มา : ชาญชัย อาจินสมาจารย์. การบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร.
พิมพ์ดี จำกัด, 2541.
พิมพ์ดี จำกัด, 2541.
ธร สุนทรายุทธ. (มปป.) หลักการและทฤษฎีการบริหารการศึกษา.
กรุงเทพมหานคร : เนติกุลการพิมพ์, 2539.
กรุงเทพมหานคร : เนติกุลการพิมพ์, 2539.
วันพุธที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2554
กิจกรรมคุณธรรม จริยธรรม
หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันประเทศไทยกำลังประสบกับภาวะวิกฤติด้านปัญหาสังคม โดยเฉพาะปัญหาของเด็กและเยาวชน ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกัน แก้ไข และส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนเป็นเด็กที่มีคุณภาพต้องใช้หลักคุณธรรม จริยธรรมเข้ามาป้องกันและแก้ไขปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อเด็กและเยาวชนให้หมดไปจากสังคมไทย โดยการสร้างรากฐานชีวิตของเด็กให้มั่นคง พัฒนาให้มีความรู้ควบคู่ คุณธรรม จริยธรรม ส่งเสริมการเรียนรู้ที่ถูกต้อง มีคุณธรรมเอื้ออาทรต่อผู้อื่นใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาในการแก้ไขพฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขจึงได้จัดให้มีโครงการนี้ขึ้น
วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อพัฒนาเด็กและ นักเรียน ให้รู้จักคิดรัก หวงแหนในสถาบัน ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
2.2 สร้างจิตสำนึกความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ห่างไกลยาเสพติด
2.3 สามารถนำความรู้พื้นฐานทางพระพุทธศาสนาไปเป็นแนวปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
พระอาจารย์ฝึกให้นักเรียนมีความสามัคคี
โดยการเล่นเกมหย่อนขวดลงแก้วไม่ให้แก้วแตก
เป้าหมาย
- ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 387 คน
- ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 306 คน
- ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 387 คน
- ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 306 คน
ตัวแทนนักเรียนทำพิธีเคารพคุณครูพร้อมขอขมา
ในสิ่งที่ได้ล่วงเกินทั้งต่อหน้าและลับหลัง
แนวทางดำเนินการ
4.1 เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
4.2 ประชุมชี้แจง
4.3 ดำเนินงานตามโครงการ
4.4 ประเมินผล สรุปผลการดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินการ
ใช้เวลา 2 วัน 1 คืน ระหว่างวันที่ 14 - 15 ณ วัดสุทธิวงศา ตำบลหัวงัว อำเภอสนม จังหวัดสุรินทร์
พระอาจารย์ร่วมถ่ายรูปกับคณะครูและนักเรียน
งบประมาณ
- ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 387 คน งบประมาณที่ใช้ 38,700 บาท
- ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 306 คน งบประมาณที่ใช้ 30,600 บาท
งบประมาณที่ใช้จ่าย รวม 69,300 บาท
การประเมินผล
1. การสังเกตผู้เข้าร่วมโครงการ
2. แบบประเมินความพึงพอใจ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนรู้จักคิดรัก หวงแหนในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
2. นักเรียนมีจิตสำนึกความภาคภูมิใจในความเป็นไทย
3. นักเรียนห่างไกลจากสิ่งเสพติดทุกประเภท
4. นักเรียนสามารถนำความรู้พื้นฐานทางพระพุทธศาสนาไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้
- ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 387 คน งบประมาณที่ใช้ 38,700 บาท
- ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 306 คน งบประมาณที่ใช้ 30,600 บาท
งบประมาณที่ใช้จ่าย รวม 69,300 บาท
การประเมินผล
1. การสังเกตผู้เข้าร่วมโครงการ
2. แบบประเมินความพึงพอใจ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนรู้จักคิดรัก หวงแหนในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
2. นักเรียนมีจิตสำนึกความภาคภูมิใจในความเป็นไทย
3. นักเรียนห่างไกลจากสิ่งเสพติดทุกประเภท
4. นักเรียนสามารถนำความรู้พื้นฐานทางพระพุทธศาสนาไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้
พิธีมอบประกาศนียบัตรนักเรียนชั้น ม.3 ม.6 และนิทรรศการ
พิธีมอบประกาศนียบัตรนักเรียนชั้น ม.3 ม.6 และนิทรรศการวิชาการ วันศุกร์ที่ 25 มีนาคม 2554 ประธานในพิธี คือ นายทองฮวย ขันทอง ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานบรรยากาศในวันนั้นมีผู้ปกครอง คณะครู นักเรียน ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้นำท้องถิ่นมาร่วมเป็นจำนวนมาก
ห้องประชุมถูกตกแต่งอย่างสวยงาม
นักเรียนชมนิทรรศการวิชาการ
นายทันใจ ชูทรงเดช ผู้อำนวยการสถานศึกษา
นายทองฮวย ขันทอง นายกองค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว
นักเรียนขึ้นรับประกาศนียบัตรตามลำดับ
ประธานตัดริบบิ้นเปิดงานวิชาการ
คณะครูและนักเรียนโรงเรียนศรีปทุมพิทยาคม
นักเรียนที่ประสบความสำเร็จ โควต้าพยาบาลศาสตร์ ม.ขอนแก่น
ผู้ปกครองนักเรียนมาร่วมงาน
สถานที่ : โรงเรียนศรีปทุมพิทยาคม อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์
วันจันทร์ที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2554
Clike นักศึกษาปริญญาโท สาขาบริหารการศึกษา รุ่น 3
ภาวะผู้นำ The Ohio State Studes
การศึกษาของมหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตท
จากการศึกษาของนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตท พบว่าพฤติกรรมของผู้นำสามารถอธิบายได้เป็นสองมิติ คือ
1.พฤติกรรมมุ่งคน (consideration)
2.พฤติกรรมมุ่งงาน (initiating structure)
พฤติกรรมมุ่งคน คือ พฤติกรรมของผู้นำที่มุ่งสร้างความไว้วางใจร่วมกัน ติดต่อสื่อสารแบบสองทาง เคารพความคิดเห็นของผู้ใต้บังคับบัญชา ให้ความสำคัญกับความรู้สึกและความต้องการของพวกเขา สร้างความใกล้ชิดทางจิตใจกับผู้ตาม ตัวอย่างพฤติกรรมของผู้นำ ได้แก่
- การรับฟังความเห็นของพนักงาน
- การปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเท่าเทียมกัน
- บอกกล่าวการเปลี่ยนแปลงล่วงหน้า
- สนใจความเป็นอยู่ของพนักงาน
- ปรึกษาหารือกับพนักงาน
- ติดต่อสื่อสารกับพนักงาน
- เป็นผู้แทนผลประโยชน์ของพนักงาน
- เป็นมิตรกับพนักงาน
พฤติกรรมมุ่งงาน คือ พฤติกรรมของผู้นำที่มุ่งระบุงานและความรับผิดชอบที่เจาะจงของสมาชิกแต่ละคนให้ชัดเจน กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน การประสานกิจกรรมของพนักงาน การมุ่งความสำคัญของกำหนดการ มุ่งการกำกับอย่างใกล้ชิดเพื่อที่จะทำงานให้สำเร็จ ตัวอย่างพฤติกรรมของผู้นำ ได้แก่
1. การวางหมายกำหนดการทำงาน
2. การรักษามาตรฐานการปฏิบัติงาน
3. การกระตุ้นให้ใช้ระเบียบปฏิบัติเดียวกัน
4. การตัดสินใจสิ่งที่ต้องทำ และทำอย่างไร
5. การกดดันพนักงาน
6. การระบุบทบาทพนักงานให้ชัดเจน
7. การแก้ปัญหา การวางแผน
8. การประสานงาน การให้การสนับสนุน
การศึกษาพฤติกรรมของผู้นำแบบสองมิตินี้ ผู้นำอาจมีสไตล์ผู้นำอย่างใดอย่างหนึ่งในสี่แบบ คือ
1. การมุ่งงานสูง/การมุ่งคนต่ำ
2. การมุ่งงานสูง/การมุ่งคนสูง
3. การมุ่งงานต่ำ/การมุ่งคนต่ำ
4. การมุ่งงานต่ำ/การมุ่งคนสูง
1.ผู้นำที่มีประสิทธิผล จะมีพฤติกรรมที่มุ่งเน้นทั้งสองมิติ คือ ทั้งด้านมุ่งคน และมุ่งงาน
2.กลุ่มผู้ตามมีความต้องการให้ผู้นำแสดงออกด้วยพฤติกรรมด้านมุ่งคน มากกว่า มุ่งงาน
3.ในทางกลับกันกับข้อ 2 ปรากฏว่า ผู้บังคับบัญชาของผู้นำ ต้องการให้ผู้นำใช้พฤติกรรม ด้านมุ่งงาน เพิ่มมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะตำแหน่งของผู้บังคับบัญชายิ่งสูงมากยิ่งต้องการให้ผู้นำใช้ พฤติกรรมด้านมุ่งงานมากขึ้นตามไปด้วย
ที่มา : สมยศ นาวีการ (2540 ). การบริหารและพฤติกรรมองค์การ.กรุงเทพ : บริษัท แมเนเจอร์ มีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)
จากการศึกษาของนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตท พบว่าพฤติกรรมของผู้นำสามารถอธิบายได้เป็นสองมิติ คือ
1.พฤติกรรมมุ่งคน (consideration)
2.พฤติกรรมมุ่งงาน (initiating structure)
พฤติกรรมมุ่งคน คือ พฤติกรรมของผู้นำที่มุ่งสร้างความไว้วางใจร่วมกัน ติดต่อสื่อสารแบบสองทาง เคารพความคิดเห็นของผู้ใต้บังคับบัญชา ให้ความสำคัญกับความรู้สึกและความต้องการของพวกเขา สร้างความใกล้ชิดทางจิตใจกับผู้ตาม ตัวอย่างพฤติกรรมของผู้นำ ได้แก่
- การรับฟังความเห็นของพนักงาน
- การปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเท่าเทียมกัน
- บอกกล่าวการเปลี่ยนแปลงล่วงหน้า
- สนใจความเป็นอยู่ของพนักงาน
- ปรึกษาหารือกับพนักงาน
- ติดต่อสื่อสารกับพนักงาน
- เป็นผู้แทนผลประโยชน์ของพนักงาน
- เป็นมิตรกับพนักงาน
พฤติกรรมมุ่งงาน คือ พฤติกรรมของผู้นำที่มุ่งระบุงานและความรับผิดชอบที่เจาะจงของสมาชิกแต่ละคนให้ชัดเจน กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน การประสานกิจกรรมของพนักงาน การมุ่งความสำคัญของกำหนดการ มุ่งการกำกับอย่างใกล้ชิดเพื่อที่จะทำงานให้สำเร็จ ตัวอย่างพฤติกรรมของผู้นำ ได้แก่
1. การวางหมายกำหนดการทำงาน
2. การรักษามาตรฐานการปฏิบัติงาน
3. การกระตุ้นให้ใช้ระเบียบปฏิบัติเดียวกัน
4. การตัดสินใจสิ่งที่ต้องทำ และทำอย่างไร
5. การกดดันพนักงาน
6. การระบุบทบาทพนักงานให้ชัดเจน
7. การแก้ปัญหา การวางแผน
8. การประสานงาน การให้การสนับสนุน
การศึกษาพฤติกรรมของผู้นำแบบสองมิตินี้ ผู้นำอาจมีสไตล์ผู้นำอย่างใดอย่างหนึ่งในสี่แบบ คือ
1. การมุ่งงานสูง/การมุ่งคนต่ำ
2. การมุ่งงานสูง/การมุ่งคนสูง
3. การมุ่งงานต่ำ/การมุ่งคนต่ำ
4. การมุ่งงานต่ำ/การมุ่งคนสูง
1.ผู้นำที่มีประสิทธิผล จะมีพฤติกรรมที่มุ่งเน้นทั้งสองมิติ คือ ทั้งด้านมุ่งคน และมุ่งงาน
2.กลุ่มผู้ตามมีความต้องการให้ผู้นำแสดงออกด้วยพฤติกรรมด้านมุ่งคน มากกว่า มุ่งงาน
3.ในทางกลับกันกับข้อ 2 ปรากฏว่า ผู้บังคับบัญชาของผู้นำ ต้องการให้ผู้นำใช้พฤติกรรม ด้านมุ่งงาน เพิ่มมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะตำแหน่งของผู้บังคับบัญชายิ่งสูงมากยิ่งต้องการให้ผู้นำใช้ พฤติกรรมด้านมุ่งงานมากขึ้นตามไปด้วย
ที่มา : สมยศ นาวีการ (2540 ). การบริหารและพฤติกรรมองค์การ.กรุงเทพ : บริษัท แมเนเจอร์ มีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)
วันเสาร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2554
วันอังคารที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2554
การจัดการห้องเรียนเสมือนจริง
ความหมาย
ห้องเรียนเสมือน (Virtual Classroom) หมายถึงการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยใช้ช่องทางของระบบการสื่อสารและอินเทอร์เน็ต ผู้เรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ตเข้าไปเรียนในเว็บไซต์ ที่ออกแบบกระบวนการเรียนการสอนให้มีสภาพแวดล้อมคล้ายกับเรียนในห้องเรียนแบบปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและผู้เรียนกับผู้เรียน โดยมีบรรยากาศเสมือนพบกันจริง กระบวนการเรียนการสอนจึงไม่ใช่การเดินทางไปเรียนในห้องเรียนแต่เป็นการเข้าถึงข้อมูลเนื้อหาของบทเรียนได้โดยผ่านคอมพิวเตอร์
ห้องเรียนเสมือน (Virtual Classroom) หมายถึงการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยใช้ช่องทางของระบบการสื่อสารและอินเทอร์เน็ต ผู้เรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ตเข้าไปเรียนในเว็บไซต์ ที่ออกแบบกระบวนการเรียนการสอนให้มีสภาพแวดล้อมคล้ายกับเรียนในห้องเรียนแบบปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและผู้เรียนกับผู้เรียน โดยมีบรรยากาศเสมือนพบกันจริง กระบวนการเรียนการสอนจึงไม่ใช่การเดินทางไปเรียนในห้องเรียนแต่เป็นการเข้าถึงข้อมูลเนื้อหาของบทเรียนได้โดยผ่านคอมพิวเตอร์
1. อุปกรณ์และซอฟแวร์ในการ เรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือน มีราคาแพง
2. มีความล่าช้าในการรอ ข้อมูลย้อนกลับ การเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนมักจะเป็นการเรียนต่างเวลาตามความพร้อมของผู้เรียนและผู้สอน
4. เสมือนจะมีช่องทางที่ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้เรียนอื่นๆได้
5. ผู้เรียนส่วนใหญ่ยังขาดความรับผิดชอบในการเรียนด้วยตนเองซึ่งเป็นคุณลักษณะที่สำคัญในการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือน
การจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนนับเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่ช่วยลดข้อจำกัดในด้านต่างๆทางการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทำให้ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความพอใจ ตามความพร้อมทั้งทางด้านเวลา สถานที่และความสามารถทางสติปัญญา การเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนนี้ สามารถจัดได้ทั้งแบบการศึกษาในโรงเรียน นอกโรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัยส่งผลให้คนส่วนใหญ่สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต
เนื่องจากการเรียนการสอนแบบเดิมมีข้อจำกัด ดังนี้
1. สถานที่จำกัดเฉพาะในห้องเรียน
2. การเรียนรู้จำกัดเฉพาะกับครู ผู้เรียน และตำรา
3. เวลาในการจัดการเรียนการสอน
4. โอกาสในการเรียนการสอน สถานที่เรียนไม่เพียงพอผู้ประสงค์จะเรียน
5. สัดส่วนของครูและนักเรียนไม่เหมาะสม
ห้องเรียนเสมือนสามารถจำแนกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ1. จัดการเรียนการสอนในห้องเรียนธรรมดา แต่มีการถ่ายทอดสดภาพและเสียงเกี่ยวกับเนื้อหาของบทเรียนโดยอาศัยระบบโทรคมนาคมและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งเรียกว่า Online ไปยังผู้เรียนที่อยู่นอก
ห้องเรียน
2. ห้องเรียนเสมือนเป็นการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่าย ที่อาศัยประสิทธิภาพของเทคโนโลยีการสื่อสสารและอินเทอร์เน็ต การเรียนการสอนจึงต้องมีการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ของผู้เรียนเข้ากับเครือข่ายคอมพิวเตอร์การเรียนการสอนทำได้โดยผู้เรียนใช้คอมพิวเตอร์ เข้าสู่เว็บไซต์
ห้องเรียนปกติ | ห้องเรียนเสมือน |
1. การพูดและการฟัง | 1. การพิมพ์และการอ่าน |
2. มีการกำหนดเวลาตารางเรียน | 2. สถานที่เรียนที่ใดก็ได้ เวลาใดก็ได้ |
3. ผู้เรียนต้องจดบันทึก | 3. การจดบันทึกถูกบันทึกโดยอัตโนมัติ |
4. คอมพิวเตอร์ไม่ได้ถูกกำหนดผู้เรียน | 4. ความพิวเตอร์เป็นส่วนหนึ่งของการอำนวยความสะดวก |
วันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
กิจกรรมคุณธรรม จริยธรรม
หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันประเทศไทยกำลังประสบกับภาวะวิกฤติด้านปัญหาสังคม โดยเฉพาะปัญหาของเด็กและเยาวชน ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกัน แก้ไข และ
ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนเป็นเด็กที่มีคุณภาพต้องใช้หลักคุณธรรม จริยธรรมเข้ามาป้องกันและแก้ไขปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อเด็กและเยาวชนให้หมดไปจากสังคมไทย โดยการสร้างรากฐานชีวิตของเด็กให้มั่นคง พัฒนาให้มีความรู้ควบคู่ คุณธรรม จริยธรรม ส่งเสริมการเรียนรู้ที่ถูกต้อง มีคุณธรรมเอื้ออาทรต่อผู้อื่นใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาในการแก้ไขพฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขจึงได้จัดให้มีโครงการนี้ขึ้น
วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อพัฒนาเด็กและ นักเรียน ให้รู้จักคิดรัก หวงแหนในสถาบัน ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
2.2 สร้างจิตสำนึกความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ห่างไกลยาเสพติด
2.3 สามารถนำความรู้พื้นฐานทางพระพุทธศาสนาไปเป็นแนวปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
พระอาจารย์ฝึกให้นักเรียนมีความสามัคคี
โดยการเล่นเกมหย่อนขวดลงแก้วไม่ให้แก้วแตก
เป้าหมาย
- ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 387 คน
- ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 306 คน
- ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 387 คน
- ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 306 คน
ตัวแทนนักเรียนทำพิธีเคารพคุณครูพร้อมขอขมา
ในสิ่งที่ได้ล่วงเกินทั้งต่อหน้าและลับหลัง
แนวทางดำเนินการ
4.1 เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
4.2 ประชุมชี้แจง
4.3 ดำเนินงานตามโครงการ
4.4 ประเมินผล สรุปผลการดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินการ
ใช้เวลา 2 วัน 1 คืน ระหว่างวันที่ 14 - 15 ณ วัดสุทธิวงศา ตำบลหัวงัว อำเภอสนม จังหวัดสุรินทร์
พระอาจารย์ร่วมถ่ายรูปกับคณะครูและนักเรียน
งบประมาณ
- ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 387 คน งบประมาณที่ใช้ 38,700 บาท
- ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 306 คน งบประมาณที่ใช้ 30,600 บาท
งบประมาณที่ใช้จ่าย รวม 69,300 บาท
การประเมินผล
1. การสังเกตผู้เข้าร่วมโครงการ
2. แบบประเมินความพึงพอใจ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนรู้จักคิดรัก หวงแหนในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
2. นักเรียนมีจิตสำนึกความภาคภูมิใจในความเป็นไทย
3. นักเรียนห่างไกลจากสิ่งเสพติดทุกประเภท
4. นักเรียนสามารถนำความรู้พื้นฐานทางพระพุทธศาสนาไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้
- ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 387 คน งบประมาณที่ใช้ 38,700 บาท
- ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 306 คน งบประมาณที่ใช้ 30,600 บาท
งบประมาณที่ใช้จ่าย รวม 69,300 บาท
การประเมินผล
1. การสังเกตผู้เข้าร่วมโครงการ
2. แบบประเมินความพึงพอใจ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนรู้จักคิดรัก หวงแหนในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
2. นักเรียนมีจิตสำนึกความภาคภูมิใจในความเป็นไทย
3. นักเรียนห่างไกลจากสิ่งเสพติดทุกประเภท
4. นักเรียนสามารถนำความรู้พื้นฐานทางพระพุทธศาสนาไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)